Sunteți pe pagina 1din 11

See

discussions, stats, and author profiles for this publication at: https://www.researchgate.net/publication/281281695

(Development
of a Low-cost Sound Meter)

Conference Paper · January 2011

CITATIONS READS

0 1,066

2 authors, including:

Kiattisak Batsungnoen
Suranaree University of Technology
22 PUBLICATIONS 7 CITATIONS

SEE PROFILE

Some of the authors of this publication are also working on these related projects:

Nano OH View project

All content following this page was uploaded by Kiattisak Batsungnoen on 27 August 2015.

The user has requested enhancement of the downloaded file.


1/9

การสร้ างเครื
องตรวจวัดระดับเสี ยงโดยใช้ เซนเซอร์ วดั เสี ยง

เกียรติศกั ดิ บัตรสู งเนิน1 และ ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ 2


สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สํานักวิชาแพทยศาสตร์ 1
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ 2
111 ถนนมหาวิทยาลัย ตําบลสุ รนารี อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสี มา 30000
kiattisak@sut.ac.th , thanatch@sut.ac.th

บทคัดย่ อ
การศึกษาในครั>งนี> มีวตั ถุ ประสงค์เพื?อสร้ างเครื? องวัดระดับเสี ยงที?มีราคาถูกที?มีความสามรถในการ
วัด เสี ย งได้อ ย่า งแม่ น ยํา และมี ค วามผิ ด พลาดของการตรวจวัด ตํ?า โดยใช้ เ ซนเซอร์ ว ดั เสี ย ง ต่ อ เข้า กับ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATmega328 มีวงจร LED แสดงสถานะการทํางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ ใช้
โปรแกรม Sensor Monitoring ซึ? งเป็ นโปรแกรมที?สร้างขึ>นจาก โปรแกรม Microsoft Visual C# อ่านค่าระดับ
เสี ยงจากเครื? องวัดระดับเสี ยง พร้ อมทั>งแสดงค่าผลการตรวจวัดออกมายังหน้าจอ LCD หลังจากนั>นทําการ
ปรับเทียบความถูกต้องของเครื? องวัดเสี ยงที?สร้าง ขึ>นมากับเครื? องวัดเสี ยงที?ได้มาตรฐาน ที?ความดังเสี ยง 50
เดซิ เบล ถึง 100 เดซิ เบล ที?ความถี? 50 100 200 เฮิร์ต และที?ความถี?ผสม โดยใช้โปรแกรม Sound Generator
จากผลการศึกษาพบว่าเปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ย ของการตรวจวัดที?ระดับเสี ยงที?ความถี? 50
เฮิ ร์ตมี ค่า เท่ า กับ 0.91 เปอร์ เซ็ นต์ ส่ วนเบี? ยงเบนมาตรฐานเท่า กับ 0.48 ที? ค วามถี? 100 เฮิ ร์ต เปอร์ เซ็ นต์
ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดเท่ากับ 0.89 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.64 ที?ความถี? 200 เฮิร์ต
เปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดเท่ากับ 1.63 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.76 และที?
ความถี?ผสม เปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดเท่ากับ 1.07 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ
0.79 เครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น สามารถแสดงผลการตรวจวัดแบบดิจิตอลและแสดงสี ที?หลอดไฟ LED
ให้ผทู ้ าํ การตรวจวัดทราบระดับอันตรายของเสี ยงเป็ น 3 ช่วง โดย สี เขียวแสดงระดับเสี ยงระหว่าง 0 ถึง 85 เด
ซิ เบล สี เหลืองแสดงระดับเสี ยงสู งกว่า 85 ถึง 90 เดซิ เบล และ สี แดงแสดงระดับเสี ยงสู งกว่า 90 เดซิ เบลขึ>น
ไป ต้นทุนในการสร้างเครื? องตรวจวัดระดับเสี ยงมีตน้ ทุนในการสร้างประมาณ 3,000 บาท ซึ? งเป็ นต้นทุนที?ต?าํ
มากเมื?อเทียบกับเครื? องวัดระดับเสี ยงที?มีขายอยูใ่ นท้องตลาด

คําสําคัญ: เสี ยง, เครื? องตรวจวัดระดับเสี ยง, เซนเซอร์วดั เสี ยง, การตรวจวัดระดับเสี ยง

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
2/9

Development of a Low-cost Sound Meter

Kiattisak Batsungnoen1 and Thanatchai Kulworawanichpong2


School of Occupational Health and Safety1
School of Electrical Engineering2
Suranaree University of Technology
111 University Avenue, Nakhon Ratchasima, 30000 Thailand
kiattisak@sut.ac.th , thanatch@sut.ac.th

Abstract

This study aims to implement a low-cost sound meter by sound sensor with high
accuracy. The sound sensor interfaces through a serial port of an ATmega328 microcontroller
equipped with a set of LED to display the operating status of the processor. The measured
data from the controller is therefore sent to liquid crystal display (LCD) with sensor
monitoring software developed under Microsoft Visual C#. Hence, the obtained data from the
sound meter, in a range of 50 – 100dB at three single frequencies of 50, 100, and 200 Hz and
one mixed frequency by sound generator program is compared with those of a standard sound
level meter for calibration. The result shows that at 50 Hz the average error is 0.91% with
0.48 of SD. At 100 Hz, the average error is 0.89% with 0.64 of SD., and 200 Hz the average
error is 1.63% with 0.76 of SD. While at the mixed frequency, the average error is 1.07%
with 0.79 of SD. This implemented sound meter can be used as efficiently as the standard
sound level meter. In addition, this instrument can measure sound level and the measured
data can also be shown continuously on LCD. Moreover, the measured sound level can be
classified into three classes representing by three colors (red for danger, yellow for warning
and green for safe). The safe class values between 0 to 85 dB. The warning class values in
range of 85 to 90 dB. The danger class is defined by a value over 90 dB. Furthermore, the
total cost of this instrument is about 3,000 Thai Baht which is relatively cheaper than that of
commercial sound instruments.

Keyword: Sound, Sound Sensor, Sound level Meter, Sound Measurement

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
3/9

1. ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปั ญหา


ปั จจุบนั มลพิษทางเสี ยงนับเป็ นปั ญหาที?มีความสําคัญยิง? ส่ งผลกระทบต่อการทํางานใน
ภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัยของพนักงาน ซึ? งกําลังเป็ นปั ญหาที?สาํ คัญอยูใ่ น
ขณะนี> มลพิษทางเสี ยงไม่เพียงแต่จะก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านร่ างกาย คือ ทําให้เกิดการสู ญเสี ย
สมรรถภาพการได้ยนิ หรื อเกิดอันตรายต่อสภาพหูของผูป้ ฏิบตั ิงานเท่านั>น หากแต่ยงั ส่ งผลกระทบทางด้าน
จิตใจอีกด้วย คือ ก่อให้เกิดความรําคาญ ความเครี ยด ทําให้นาํ มาซึ? งความผิดพลาด และขาดสมาธิ ในการ
ทํางาน อันเป็ นสาเหตุที?ก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุหรื อความผิดพลาดในการทํางานได้ในที?สุด กระทรวงแรงงานได้
ให้ความสําคัญในการป้ องกันควบคุมอันตรายจากเสี ยงดัง โดยออกเป็ นกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการ
บริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี?ยวกับ ความร้อน
แสงสว่าง และเสี ยง โดยกําหนดให้ทุกสถานประกอบการต้องมีการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทํางาน
ความร้อน แสงสว่างและเสี ยง อย่างน้อยปี ละ 1 ครั>ง หรื อในกรณี ที?มีการเปลี?ยนแปลงกระบวนการผลิต
เครื? องจักร อุปกรณ์ ถ้าระดับเสี ยงสู งกว่าค่ามาตรฐานกําหนด สถานประกอบการต้องหาทางในการป้ องกัน
ควบคุมความ ให้อยูใ่ นระดับที?ปลอดภัย แต่อย่างไรก็ตามเครื? องตรวจวัดระดับเสี ยงที?มีอยูใ่ นปั จจุบนั มีราคา
สู งจึงทําให้ยากต่อการดําเนินการตรวจวัดและหาทางป้ องกันอันตรายจากการทํางาน อย่างทันท่วงที ดังนั>น
ผูว้ จิ ยั จึงได้เล็งเห็นถึงความสําคัญของการตรวจวัดสภาวะแวดล้อมในการทํางาน จึงได้สร้างเครื? องวัดระดับ
เสี ยงที?มีราคาถูก มีความสามรถในการวัดระดับเสี ยงได้อย่างแม่นยําและมีค่าความคลาดเคลื?อนของการ
ตรวจวัดตํ?า สามารถผลิตได้เองจากวัสดุที?มีอยูภ่ ายในประเทศ เพื?อเป็ นทางเลือกให้กบั สถานประกอบการ
นําไปใช้ในการพัฒนางานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ต่อไปได้ใน
อนาคต

2 วัตถุประสงค์ ของการศึกษาวิจัย
เพื?อสร้างเครื? องตรวจวัดระดับเสี ยงที?มีราคาถูก มีความสามรถในการวัดระดับเสี ยงได้อย่างแม่นยํา
และมีค่าผิดพลาดของการตรวจวัดตํ?า

3. วิธีการศึกษา
การศึกษาในครั>งนี> เป็ นการศึกษาเชิงทดลอง เพื?อสร้างเครื? องวัดระดับเสี ยง โดยใช้เซนเซอร์ วดั เสี ยง
ต่อเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์ ATmega328 มีวงจร LED แสดงสถานะการทํางานของ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ ใช้โปรแกรม Sensor Monitoring ซึ? งเป็ นโปรแกรมที?สร้างขึ>นจาก โปรแกรม
Microsoft Visual C# อ่านค่าระดับเสี ยงจากเครื? องวัดระดับเสี ยง พร้อมทั>งแสดงค่าผลการตรวจวัดออกมายัง
หน้าจอ LCD

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
4/9

3.1 เครื
องมือและอุปกรณ์ ทใี
ช้ ในการศึกษาวิจัย
 เซนเซอร์ วดั เสี ยง
 ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATmega328
 จอแสดงผล LCD
 โปรแกรม Microsoft Visual C#
 โปรแกรม Sensor Monitoring
 โปรแกรมกําเนิ ดเสี ยง (Sound Generator)
 ลําโพง
 เครื? องวัดระดับเสี ยง (Sound Level Meter)

3.2 ขั3นตอนการดําเนินการศึกษา
1) การทํางานของเครื
องตรวจวัดระดับเสี ยง
เมื?อเปิ ดสวิตช์การทํางาน หลอด LED จะติดเพื?อแสดงสถานะการทํางานของไมโครคอนโทรลเลอร์
เซนเซอร์ วดั เสี ยง ส่ ง input ของระบบเข้าไปทําการประมวลผลในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ มีโปรแกรม
Sensor Monitoring ทําการอ่านค่าระดับเสี ยงแสดงบนหน้าจอ LCD ที?หลอดไฟ LED จะแบ่งระดับอันตราย
ออกเป็ น 3 ช่วง โดย สี เขียวแสดงระดับเสี ยงระหว่าง 0 ถึง 85 เดซิ เบล สี เหลืองแสดงระดับเสี ยงสู งกว่า 85 ถึง
90 เดซิ เบล และ สี แดงแสดงระดับเสี ยงสู งกว่า 90 เดซิ เบล ขึ>นไป ขั>นตอนการทํางานของเครื? องวัดระดับเสี ยง
แสดงในรู ปที? 1 ส่ วนประกอบของเครื? องตรวจวัดระดับเสี ยง แสดงในรู ปที? 2

เซนเซอร์ วดั เสี ยง

ไมโครคอนโทรลเลอร์ LED แสดงสถานะ การทํางาน

โปรแกรม Sensor Monitoring

แสดงผลการตรวจวัด ผ่านจอแสดงผล LCD

รู ปที
1 แสดงการทํางานของเครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>นมา

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
5/9

LED แสดงสถานะการทํางาน

จอแสดงผล LCD
เซนเซอร์ วดั เสี ยง
(ไมโครโฟน)

ปุ่ มเปิ ด / ปิ ดเครื? อง


รู ปที
2 แสดงส่ วนประกอบของเครื? องตรวจวัดระดับเสี ยง

2) ขั3นตอนการศึกษาทดลอง
1. วางเครื? องวัดระดับเสี ยง Standard (Sound Level Meter) และ เครื? องวัดระดับเสี ยงที?
สร้างขึ>น Sound Sensor ไว้ตาํ แหน่งเดียวกัน ห่างจากแหล่งกําเนิดเสี ยง 1 เมตร
2. ทําการตรวจวัดระดับเสี ยงที?ความดังเสี ยง 50 เดซิ เบล ถึง 100 เดซิ เบล
3. อ่านค่าจากเครื? องวัดระดับเสี ยงนําค่าที?ได้แล้วนําไปเขียนกราฟ
4. หาความสัมพันธ์ระหว่างเครื? องวัดระดับเสี ยง Standard (Sound level meter) และ
เครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>นมา Sound Sensor
5. ทําการปรับเทียบเครื? องวัดระดับเสี ยง Sound Sensor กับเครื? องวัดระดับเสี ยง Standard
ทําการทดลองซํ>า

4. ผลการศึกษา
4.1 ผลการตรวจวัดระดับเสี ยงก่ อนทําการปรับเทียบความถูกต้ อง
เมื?อทําการตรวจวัดระดับเสี ยงของเครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น โดยใช้เซนเซอร์ วดั เสี ยง (Sound
Sensor) และเครื? องวัดระดับเสี ยงมาตรฐาน (Standard) คือ Sound level meter การศึกษาพบว่า ก่อนการ
ปรับเทียบความถูกต้อง ระดับเสี ยงของเครื? องที?สร้างขึ>น (Sound Sensor) มีค่าการตรวจวัดระดับเสี ยงแตกต่าง
จากเครื? องวัดระดับเสี ยงมาตรฐาน (Standard) ดังนั>นแสดงให้เห็นว่าเครื? องวัดระดับเสี ยงที?เราสร้างขึ>น มีค่า
ความผิดพลาดของการตรวจวัดสู งมาก ดังแสดงในรู ปที? 3

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
6/9

110

100

90

80

Standard
70

60

range1
50 range2
range3

40
200 250 300 350 400 450 500 550 600
Sound sensor

รู ปที
3 แสดงผลการตรวจวัดระดับเสี ยงก่อนการปรับเทียบความถูกต้อง

4.2 ผลการปรับเทียบความถูกต้ องของเครื


องวัดระดับเสี ยง
จากผลการตรวจวัดระดับเสี ยงจากการทดลองก่อนการปรับเทียบกับเครื? องวัดระดับเสี ยงมาตรฐาน
จะพบว่าค่าที?ได้มีค่าต่างจากเครื? องวัดระดับมาตรฐาน ดังนั>นผูว้ ิจยั ได้แบ่งช่วงการปรับเทียบ ออกเป็ น 3 ช่วง
คือ ช่วงที? 1 ระดับเสี ยงระหว่าง 45 ถึง 85 เดซิ เบล ช่วงที? 2 ระดับเสี ยงมากกว่า 85 ถึง 100 เดซิ เบล และ ช่วงที?
3 ระดับเสี ยงมากกว่า 100 เดซิ เบล ความสัมพันธ์มีลกั ษณะเป็ นกราฟเส้นตรง ดังสมการที? 1

y= ax + b สมการที? 1

เมื?อ x คือ ค่าจากเครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น (Sound Sensor)


y คือ ค่าจากเครื? องวัดระดับเสี ยงมาตรฐาน (Standard)

การปรับเทียบความถูกต้องของเครื? องวัดระดับเสี ยง ช่วงที? 1 ที?ระดับเสี ยงระหว่าง 45 ถึง 85 เดซิ เบล


ได้ความสัมพันธ์ดงั สมการที? 2 ทําให้กราฟของการตรวจวัดระดับเสี ยงของเครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น
(Sound Sensor) และ เครื? องวัดระดับเสี ยงมาตรฐาน (Standard) มีค่าเท่ากัน แสดงดังรู ปที? 4

y = 0.1468x + 10.1423 สมการที? 2

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
7/9

90

85

80

75

Standard
70

65

60

55

50 Standard
Sound sensor
45
45 50 55 60 65 70 75 80 85 90
Sound sensor

รู ปที
4 แสดงการปรับเทียบความถูกต้องตามสมการ y = 0.1468x + 10.1423

การปรับเทียบความถูกต้องของเครื? องวัดระดับเสี ยงช่วงที? 2 ระดับเสี ยงมากกว่า 85 ถึง 100 เดซิ เบล


ได้ความสัมพันธ์ดงั สมการที? 3 ทําให้กราฟของการตรวจวัดระดับเสี ยงของเครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น
(Sound Sensor) และ เครื? องวัดระดับเสี ยงมาตรฐาน (Standard) มีค่าเท่ากัน แสดงดังรู ปที? 5

y = 0.2763x - 53.1509 สมการที? 3

102

100

98

96
Standard

94

92

90

88

86 Standard
Sound sensor
84
84 86 88 90 92 94 96 98 100 102
Sound sensor

รู ปที
5 แสดงการปรับเทียบความถูกต้องตามสมการ y = 0.2763x - 53.1509

การปรับเทียบความถูกต้องของเครื? องวัดระดับเสี ยงช่วงที? 3 ระดับเสี ยงมากกว่า 100 เดซิ เบล ได้


ความสัมพันธ์ดงั สมการที? 4 ทําให้กราฟของการตรวจวัดระดับเสี ยงของเครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น
(Sound Sensor) และ เครื? องวัดระดับเสี ยงมาตรฐาน (Standard) มีค่าเท่ากัน แสดงดังรู ปที? 6

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
8/9

y = 0.2296x - 26.5539 สมการที? 4

110

109

108

107

106
Standard

105

104

103

102

101 Standard
Sound sensor
100
100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110
Sound sensor

รู ปที
6 แสดงการปรับเทียบความถูกต้องตามสมการ y = 0.2296x - 26.5539

4.3 ผลการตรวจวัดระดับเสี ยงหลังทําการปรับเทียบความถูกต้ อง


เมื?อทําการปรับเทียบความถูกต้องความถูกต้อง ของเครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น (Sound Sensor)
ให้สามารถอ่านค่าระดับเสี ยงเท่ากับเครื? องวัดระดับเสี ยงมาตรฐาน (Standard) หรื อ Sound Level Meter แล้ว
ทําการตรวจวัดระดับเสี ยงที?ระยะห่างจากแหล่งกําเนิดเสี ยง 1 เมตร ผลการศึกษาพบว่า ความถี? 50 เฮิร์ต
เปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนของการตรวจวัดที?ระดับเสี ยงประมาณ 80 เดซิ เบล มีค่าคลาดเคลื?อนของของ
การตรวจวัดตํ?าสุ ดที? 0.88 เปอร์ เซ็นต์ และ ที?ระดับเสี ยงประมาณ 100 เดซิ เบล มีค่าคลาดเคลื?อนของของการ
ตรวจวัดสู งสุ ดที? 1.52 เปอร์ เซ็นต์ ดังแสดงในตารางที? 1

ตารางที
1 แสดงเปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนของเครื? องวัดระดับเสี ยงที?ความถี? 50 เฮิร์ต

เครื? องวัดระดับเสี ยง เครื? องวัดระดับเสี ยง Sound ความคลาดเคลื?อน


Standard (dB) Sensor (dB) (เปอร์ เซ็นต์)
51.3 52.0 1.36
60.4 61.3 1.49
70.8 70.1 0.99
79.6 78.9 0.88
91.2 92.4 1.32
99.3 100.6 1.31
105.2 103.6 1.52

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
9/9

เปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดที?ระดับเสี ยงที?ความถี? 50 เฮิร์ตมีค่าเท่ากับ 0.91


เปอร์ เซ็นต์ ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.48 ที?ความถี? 100 เฮิร์ต เปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของ
การตรวจวัดเท่ากับ 0.89 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.64 ที?ความถี? 200 เฮิร์ต เปอร์ เซ็นต์ความคลาด
เคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดเท่ากับ 1.63 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.76 และที?ความถี?ผสม เปอร์ เซ็นต์
ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดเท่ากับ 1.07 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.79 ตามลําดับ ดังแสดง
ในตารางที? 2

ตารางที
2 แสดงเปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนของเครื? องวัดระดับเสี ยงหลังทําการปรับเทียบ

ความถี
เปอร์ เซ็นต์ ความคลาดเคลือ
น (%)
(เฮิร์ต) Min Max Mean SD.
50 0.49 1.76 0.91 0.48
100 0.28 1.83 0.89 0.64
200 0.50 2.73 1.63 0.76
ความถี?ผสม 0.20 2.36 1.07 0.79

5. สรุ ปผลการศึกษา
จากการสร้างเครื? องวัดระดับเสี ยงโดยใช้เซนเซอร์ วดั เสี ยง ต่อเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์
ATmega328 โดยมีวงจร LED แสดงสถานะการทํางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ ใช้โปรแกรม Sensor
Monitoring ซึ? งเป็ นโปรแกรมที?สร้างขึ>นจาก โปรแกรม Microsoft Visual C# อ่านค่าระดับเสี ยงจากเครื? องวัด
ระดับเสี ยง พร้อมทั>งแสดงค่าผลการตรวจวัดออกมายังหน้าจอ LCD เครื? องวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น สามารถ
แสดงผลการตรวจวัดแบบดิจิตอลและแสดงสี ที?หลอดไฟ LED ให้ผทู ้ าํ การตรวจวัดทราบระดับอันตรายของ
เสี ยงเป็ น 3 ช่วง โดย สี เขียวแสดงระดับเสี ยงระหว่าง 0 ถึง 85 เดซิ เบล สี เหลืองแสดงระดับเสี ยงสู งกว่า 85
ถึง 90 เดซิ เบล และ สี แดงแสดงระดับเสี ยงสู งกว่า 90 เดซิ เบล ขึ>นไป
เปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดที?ระดับเสี ยงที?ความถี? 50 เฮิร์ตมีค่าเท่ากับ 0.91
เปอร์ เซ็นต์ ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.48 ที?ความถี? 100 เฮิร์ต เปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของ
การตรวจวัดเท่ากับ 0.89 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.64 ที?ความถี? 200 เฮิร์ต เปอร์ เซ็นต์ความคลาด
เคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดเท่ากับ 1.63 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.76 และที?ความถี?ผสม เปอร์ เซ็นต์
ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของการตรวจวัดเท่ากับ 1.07 ส่ วนเบี?ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.79
ต้นทุนในการสร้างเครื? องตรวจวัดระดับเสี ยงมีตน้ ทุนในการสร้างประมาณ 3,000 บาท ซึ? งเป็ น
ต้นทุนที?ต?าํ มากเมื?อเทียบกับเครื? องวัดระดับเสี ยงที?มีขายอยูใ่ นท้องตลาด

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง
10/
9
6. อภิปรายผลการศึกษา
เครื? องตรวจวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>น (Sound Sensor) พบว่ามีเปอร์ เซ็นต์ความคลาดเคลื?อนเฉลี?ยของ
การตรวจวัดตํ?ามีค่าไม่เกิน 2 เปอร์ เซ็นต์ ทุกระดับเสี ยง ที?ความถี? 50 100 200 เฮิร์ต และความถี?ผสม ดังนั>น
เครื? องตรวจวัดระดับเสี ยงที?สร้างขึ>นมานี> สามารถนําไปใช้ในสถานประกอบการเพื?อเป็ นการสํารวจเบื>องต้น
ถึงอันตรายด้านเสี ยงที?อาจะเกิดขึ>นกับพนักงานในสถานประกอบการได้ เนื? องจาก กฎกระทรวง กําหนด
มาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน
เกี?ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสี ยง พ.ศ. 2549 ได้กาํ หนดระดับเสี ยงในการทํางาน 8 ชัว? โมงต่อวัน ห้าม
ให้มิให้ระดับเสี ยงดังเกินกว่า 90 เดซิ เบล แต่อย่างไรก็ตามเครื? องวัดเสี ยงนี>ยงั ไม่สามารถใช้อา้ งอิงกับ
กฎหมายได้เนื?องจากเครื? องวัดเสี ยงที?ใช้ทาํ การตรวจวัดเสี ยงตามกฎหมาย ต้องได้มาตรฐานตามกฎกระทรวง
ดังนั>น เครื? องวัดเสี ยงนี>สามารถใช้ได้เพียงการสํารวจเบื>องต้นเท่านั>น เพื?อเป็ นแนวทางให้ทางสถาน
ประกอบการกําหนดมาตรการในการป้ องกันควบคุมเสี ยงให้อยูใ่ นระดับที?ปลอดภัยต่อผูป้ ฏิบตั ิงาน

7. เอกสารอ้ างอิง
1. กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทํางานเกี?ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสี ยง, พ.ศ. 2549
2. วันทนี พันธุ์ประสิ ทธิ . มหาวิทยาลัยมหิ ดล เสนอแนะการตรวจวัดความร้อน แสง และ
เสี ยงตามกฎหมาย, 2549
3. สถาบันความปลอดภัยในการทํางาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน คู่มือการตรวจวัดและ
ประเมินสภาพแวดล้อมด้านกายภาพ, 2545
4. เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์. สิ? งแวดล้อมกับความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม. ศูนย์วจิ ยั และ
ฝึ กอบรมด้านสิ? งแวดล้อม กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ? งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
สิ? งแวดล้อม
5. พรพิมล กองทิพย์. สุ ขศาสตร์ อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั>งที? 2. กรุ งเทพฯ: นําอักษรการพิมพ์, 2545.
6. สราวุธ สุ ธรรมาสา.การจัดการมลพิษทางเสี ยงจากอุตสาหกรรม. กรุ งเทพฯ : ซี แอนด์ เอส พริ> นติ>ง
จํากัด, 2547.
7. เอกชัย มะการ. เรี ยนรู ้ เข้าใจ ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ ตระกูล AVR ด้วย Arduino.
: บริ ษทั อีทีที จํากัด
8. ACGIH - Threshold Limit Values (TLVs) and Biological Exposure Indices (BEIs), 2006
9. วิฑูรย์ สิ มะโชคดี. การลดและควบคุมเสี ยงดังในโรงงาน. พิมพ์ครั>งที? 2. กรุ งเทพฯ: สมาคม
ส่ งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย – ญี?ปุ่น), 2544.

การสร้างเครื่องตรวจวัดระดับเสียงโดยใช้เซนเซอร์วัดเสียง

View publication stats

S-ar putea să vă placă și